Mathematic Experiences for Early Childhood
แฟ้มสะสมงานรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
*สรุปวิจัย*
เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ผู้วิจัย คมขวัญ อ่อนบึงพร้าว
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวัน จึงต้องฝึกให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ให้เด็กรู้จักคิด เป็นทำเป็น แก้ปัญหาเป็น รู้จักค้นคว้าหาคำตอบด้วย ตนเอง สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวันและเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในระดับต่อไปได้
ในปัจจุบันได้มีการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้วิธีการสอน
ที่หลากหลาย และได้มีผู้นำศิลปะมาใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ซึ่งพบว่ามีการกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยความเพลิดเพลิน และความสนใจของเด็ก ศิลปะช่วยให้เด็กสื่อสารและบูรณาการประสบการณ์ได้ สื่อศิลปะเป็นรูปแบบโดยธรรมชาติที่ทำให้มีการแสดงออกและค้นคว้าที่นำไปสู่การเรียนรู้ของเด็กและเข้าใจโลก ซึ่งทำให้เด็กได้คิดพัฒนาสร้างสรรค์จากการถ่ายโยงภาพที่เห็นเป็นศิลปะของการเรียนรู้ที่สำคัญ ศิลปะจะเป็นแก่นของการพัฒนา ทักษะคณิตศาสตร์เป็นทักษะที่แทรกอยู่ได้ทุกกิจกรรมศิลปะ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กได้สำรวจค้นคว้า เปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดริเริ่มและจินตนาการ อันจะส่งผลให้เด็กมีคุณลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ ความเป็นเหตุเป็นผล รู้จักการสังเกต จากการศึกษารูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ พบว่าศิลปะเปลี่ยนแบบ ศิลปะบูรณาการ และศิลปะค้นหา สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ได้ โดยศิลปะเปลี่ยนแบบหมายถึง การเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้มาสร้างเป็นงานศิลปะ ด้วยการเปลี่ยนรูปแบบและเลือกใช้ในการสร้างเป็นผลงาน ศิลปะบูรณาการหมายถึง การนำความรู้ที่ได้รับมาเป็นพื้นฐานของการพัฒนางานศิลปะเป็นภาพหรือสิ่งประดิษฐ์โดยใช้การสังเกต การเปรียบเทียบ และการนับจำนวนจากนั้นให้เพิ่มเติมตกแต่งได้ตามจินตนาการ และศิลปะค้นหาหมายถึงการใช้ศิลปะเช่นภาพวาดหรือผลผลิตจากงานศิลปะมาให้เด็กค้นคว้าค้นหาความรู้จากงานศิลปะ ที่นำมากระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งแต่ละแบบของศิลปะเด็กจะต้องใช้พื้นฐานทักษะทางคณิตศาสตร์ไปด้วยเสมอ
ในการการเปรียบเทียบ การจำแนก การสังเกต การบอกตำแหน่ง การนับ การรู้ค่ารู้จำนวนหรือแม้แต่การเพิ่มการลดจำนวน
กลุ่มตัวอย่างการวิจัย
เด็กนักเรียนชาย – หญิง อายุระหว่าง 5 – 6 ปี ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ กรุงเทพมหานคร สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยคัดเลือกเด็กที่มีคะแนะทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ใน 15 อันดับสุดท้ายกำหนดเป็นกลุ่มทดลอง
การประเมิน
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- ชุดที่ 1 การบอกตำแหน่ง
- ชุดที่ 2 การจำแนก
- ชุดที่ 3 การนับปากเปล่า 1 – 30
- ชุดที่ 4 การรู้ค่ารู้จำนวน
- ชุดที่ 5 การเพิ่ม – การลด 1 –.10
ผลการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยรวม 5 ทักษะและจำแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่ง ทักษะการจำแนก ทักษะการนับ 1 – 30 ทักษะการรู้ค่ารู้จำนวน ทักษะการเพิ่ม – การลด ภายในจำนวน 1 – 10 ซึ่งทักษะการเพิ่ม – ลด ภายในจำนวน 1 – 10 เป็นทักษะทางคณิตศาสตร์ที่ผลการวิจัยมีการพัฒนาอยู่ในระดับดีมาก
วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 14
วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556
- มีการสอบสอน โดยหน่วยที่สอบสอนคือหน่อยส้ม กับ หน่วยไข่
- การสอนได้แบ่งเป็น 5 วัน 5 คน
- มีการสอบสอน โดยหน่วยที่สอบสอนคือหน่อยส้ม กับ หน่วยไข่
- การสอนได้แบ่งเป็น 5 วัน 5 คน
หน่วยของดิฉันคือ มะนาว
วันจันทร์ = ชนิดและรูปทรงของมะนาว
วันอังคาร = ลักษณะและส่วนประกอบของมะนาว
วันพุธ = ประโยชน์ของมะนา
วันพฤหัสบดี = การถนอมอาหาร
วันจันทร์ = ชนิดและรูปทรงของมะนาว
วันอังคาร = ลักษณะและส่วนประกอบของมะนาว
วันพุธ = ประโยชน์ของมะนา
วันพฤหัสบดี = การถนอมอาหาร
วันศุกร์ = การทำ cooking
- ยังไม่ได้ทำการสอน เพราะว่ารับผิดชอบในส่วนการทำ COOKING. โดยอาจารย์จะให้สอนสัปดาห์สุดท้ายก่อนสอบ
- ยังไม่ได้ทำการสอน เพราะว่ารับผิดชอบในส่วนการทำ COOKING. โดยอาจารย์จะให้สอนสัปดาห์สุดท้ายก่อนสอบ
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันที่ 29 มกราคม 2556
- อภิปรายเรื่อง กิจกรรม
1. รำ (เชิญพระขวัญ) = สว่างจิตร (1คน)
2. ร้องเพลง (หนูไม่รู้) = รัตติยา (1คน)
3. โฆษณา = นิศาชล/ละมัย (2คน)
4. พิธีกร = ลูกหยี/ซาร่า (2คน)
5. การแสดงโชว์ (ลิปซิงค์เพลง) = จุฑามาศ/นีรชา
(เต้นประกอบเพลง) = พลอยปภัส/เกตุวดี/มาลินี
(ละครใบ้) = ลูกหมี/จันทร์สุดา
(ตลก) = ณัฐชา/ชวนชม/ดาราวรรณ รวม (10คน)
6. ผู้กำกับหน้าม้า = พวงทอง/นฏา (2คน)
7. หน้าม้า = ทั้งหมดที่เหลือ (48คน)
มาตรฐานที่ 2 เรื่องเวลา
15:00-15:10 น.
- อภิปรายเรื่อง กิจกรรม
- กีฬาสี
- บายเนียร์
- ความสามารถ
1. รำ (เชิญพระขวัญ) = สว่างจิตร (1คน)
2. ร้องเพลง (หนูไม่รู้) = รัตติยา (1คน)
3. โฆษณา = นิศาชล/ละมัย (2คน)
4. พิธีกร = ลูกหยี/ซาร่า (2คน)
5. การแสดงโชว์ (ลิปซิงค์เพลง) = จุฑามาศ/นีรชา
(เต้นประกอบเพลง) = พลอยปภัส/เกตุวดี/มาลินี
(ละครใบ้) = ลูกหมี/จันทร์สุดา
(ตลก) = ณัฐชา/ชวนชม/ดาราวรรณ รวม (10คน)
6. ผู้กำกับหน้าม้า = พวงทอง/นฏา (2คน)
7. หน้าม้า = ทั้งหมดที่เหลือ (48คน)
มาตรฐานที่ 2 เรื่องเวลา
15:00-15:10 น.
- รำ
- ร้องเพลง
- โฆษณา
- พีธีกร
- การแสดงโชว์ต่างๆ
มาตรฐานที่ 4 เรื่องแบบรูป- ชุดการแสดงมีรูปแบบต่างๆ
มาตรฐานที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- ความน่าจะเป็น การวางแผนการทำงานต่างๆ
มาตรฐานที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเตรียมตัว)
- เกิดกระบวนการคิด , การเรียงลำดับเหตุการณ์
มาตรฐานที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- ความน่าจะเป็น การวางแผนการทำงานต่างๆ
มาตรฐานที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเตรียมตัว)
- เกิดกระบวนการคิด , การเรียงลำดับเหตุการณ์
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12
วันที่ 22 มกราคม 2556
- ส่งสื่อคณิตศาสตร์ (กราฟ)
- อาจารย์แนะนำสิ่งที่ควรจะเพิ่มเติมในสื่อ
- เพิ่มช่องสำหรับใส่หัวข้อ
- เพิ่มที่สำหรับปักหมุดไว้ด้านข้างที่เก็บเชือก
- สื่อทางคณิตศาสตร์ก็ควรจะเป็นสื่อที่เด็กสามมารถหยิบจับหรือลองเล่นได้
เด็กจะเกิดความเข้าใจก็ต่อเมื่อได้ลงมือปฏิบัติ
- เลขฐานสิบ เป็นเลขที่สำคัญ
- ใช้นิทานในการสอนเนื้อหา เพราะนิทานจะทำให้เด็กเกิดความเข้าใจได้ง่าย และมีความน่าสนใจ
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11
วันที่ 15 มกราคม 2556
- ให้นักศึกษาส่งฝาน้ำที่ได้สั่งในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ฝาขวดน้ำที่ส่งสามารถนำมาใช้ในวิชาคณิตศาสตร์อย่างไร
มาตรฐานที่ 1 การนับและการดำเนินการ
- นับจำนวนทั้งหมด (การนับ,เศษส่วน)
- การแทนค่าด้วยตัวเลข
มาตรฐานที่ 2 การวัด
- ต้องมีเครื่องมือในการวัด หลังจากวัดจะได้ค่าหรือปริมาณ และหน่วยในการวัด และแทนค่าด้วยตัวเลข เช่น วัดระยะห่างและแทนค่าด้วยตัวเลข ใช้หน่วยของระยะทางเป็นจำนวนฝา
- นำระยะห่างของฝามาเปรียบเทียบ และสรุปเป็นกราฟ
- นำระยะห่างของฝามาเปรียบเทียบ และสรุปเป็นกราฟ
มาตรฐานที่ 3 เลขาคณิต
- ทำกระดาษเป็นรูปทรงต่างๆ และนำมาติดกับฝา- ตำแหน่งและทิศทาง เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก / ระหว่าง / ตรงกลาง / ใกล้,ไกล
มาตรฐานที่ 4 พีชคณิต
-แบบรูป แพทเทิล (การทำตามแบบ) เช่น ตัวเลข ตำแหน่งของกาiเขียนตัวเลข เครื่องหมาย การเรียงตามความสัมพันธ์ (เหมือนกับเหมือน)
-แบบรูป แพทเทิล (การทำตามแบบ) เช่น ตัวเลข ตำแหน่งของกาiเขียนตัวเลข เครื่องหมาย การเรียงตามความสัมพันธ์ (เหมือนกับเหมือน)
ตัวอย่างเกม เช่น เกมจับคู่ เกมความสัมพันธ์สองแกน
มาตรฐานที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- วิเคราะห์ข้อมูลระยะทางทั้ง 2 ทาง
- วิเคราะห์ข้อมูลระยะทางทั้ง 2 ทาง
- การสอนเรื่องขนมไทย เด็กๆชอบขนมอะไร หาความสัมพันธ์ด้วยกราฟ
- การเชคจำนวนเด็กนักเรียนที่มาเรียนและขาดเรียน (นำข้อมูลมาจากบอร์ดเชคชื่อ)
มารตฐานที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย- แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8-9 คน
- ให้ทำกราฟ และ บอร์ดหาข้อมูล (กลุ่มละ1งาน)
- ให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบสอน ในหน่วยและวัน ของแต่ละคน โดยให้จำลองเหตุการณ์ขึ้นมา
- ให้ทำกราฟ และ บอร์ดหาข้อมูล (กลุ่มละ1งาน)
- ให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบสอน ในหน่วยและวัน ของแต่ละคน โดยให้จำลองเหตุการณ์ขึ้นมา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)